ประวัติมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนและการวิจัยในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่างๆ มาเป็นเวลากว่า 50 ปี และได้ขยายงานทางด้านวิชาการมาอย่างต่อเนื่อง บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม (Graduate School of Management and Innovation: GMI) แห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ได้ถูกจัดต้ังขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545
จากการที่มหาวิทยาลัยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและประโยชน์ของศาสตร์ทางด้านการจัดการ
ที่มีต่อความสำเร็จขององค์กรในยุคเศรษฐกิจที่ใช้เทคโนโลยีและความรู้เข้มข้น (Technology and Knowledge Based Economy) เพื่อให้เกิดการบูรณาการระหว่างศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี งานวิศวกรรม และศาสตร์ทางด้าน การบริหารจัดการอย่างจริงจัง โดยมุ่งเน้นการผลิตบุคลากรที่มีทักษะการบริหารเฉพาะทางที่ดี มีความสามารถ และจะปลูกฝังแนวคิดเชิงการทำงานร่วมกับผู้อื่น (Collaboration) นวัตกรรม (Innovation) ความเป็นผู้นำ (Leadership) และความเป็นนักประกอบการสมัยใหม่ (Entrepreneurship) นอกจากจะผลิตผู้บริหารที่มีคุณภาพแล้ว GMI ยังต้องการให้บัณฑิตที่จบออกไปมีคุณสมบัติเป็น “Change Agent” ให้กับองค์กรอีกด้วย
ผู้นำที่มีนวัตกรรม มีมโนธรรม และโลกยอมรับ
รังสรรค์ ผู้นำมืออาชีพ พร้อมสร้างความก้าวหน้าในการศึกษา
ด้านบริหารจัดการด้วยการเรียนการสอนเชิงนวัตกรรม
การวิจัยที่เกี่ยวเนื่อง และการบริการวิชาการแก่สังคมที่ยั่งยืน
รังสรรค์ ผู้นำมืออาชีพ
พร้อมสร้างความก้าวหน้าในการศึกษา
ด้านบริหารจัดการด้วยการเรียนการสอน
เชิงนวัตกรรม การวิจัยที่เกี่ยวเนื่อง
และการบริการวิชาการแก่สังคมที่ยั่งยืน
ของบัณฑิต GMI
มิติด้านความร่วมมือ (Collaborative Dimension)
ในโลกธุรกิจปัจจุบันที่ใช้องค์ความรู้ (Knowledge) เป็นปัจจัยหลักในการเพิ่มพูนศักยภาพทางการแข่งขัน (Competitiveness) ขององค์กร ความร่วมมือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความร่วมมือระหว่างองค์กร ถือเป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญในการประสาน เชื่อมโยง อีกทั้งยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน
ที่ส่งผลมาจากการถ่ายทอดความรู้ (Knowledge Transfer) และนวัตกรรม (Innovation) การปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์กรมีหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นในรูปของการทำการวิจัยและพัฒนาร่วมกัน (Co-R&D) การผลิตร่วมกัน (Co-Manufacturing) รวมถึงการจดทะเบียนตราสินค้าร่วมกัน (Co-Branding) นอกจากกระบวนการที่กล่าวมา การเฟ้นหาพันธมิตรทางธุรกิจยังเป็นอีกปัจจัยที่สำคัญอีกปัจจัยหนึ่งที่จะตัดสินความเป็นไปได้และความสำเร็จทางธุรกิจ
มิติความร่วมมือจึงเปรียบได้กับประตูบานแรกที่นำไปสู่นวัตกรรม และศักยภาพทางการแข่งขันที่ยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม จึงเน้นให้
ผู้เรียนมีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการเจรจาและการต่อรอง ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ การเมือง นวัตกรรมและการค้าระหว่างประเทศ
เพื่อเป็นฐานสำคัญของมิติ
ในโลกธุรกิจปัจจุบันที่ใช้องค์ความรู้ (Knowledge) เป็นปัจจัยหลักในการเพิ่มพูนศักยภาพทางการแข่งขัน (Competitiveness) ขององค์กร ความร่วมมือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความร่วมมือระหว่างองค์กร ถือเป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญในการประสาน เชื่อมโยง อีกทั้งยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ที่ส่งผลมาจากการถ่ายทอดความรู้ (Knowledge Transfer) และนวัตกรรม (Innovation) การปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์กรมีหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นในรูปของการทำการวิจัยและพัฒนาร่วมกัน (Co-R&D) การผลิตร่วมกัน (Co-Manufacturing) รวมถึงการจดทะเบียนตราสินค้าร่วมกัน (Co-Branding) นอกจากกระบวนการที่กล่าวมา การเฟ้นหาพันธมิตรทางธุรกิจยังเป็นอีกปัจจัยที่สำคัญอีกปัจจัยหนึ่งที่จะตัดสินความเป็นไปได้และความสำเร็จทางธุรกิจ มิติความร่วมมือจึงเปรียบได้กับประตูบานแรกที่นำไปสู่นวัตกรรม และศักยภาพทางการแข่งขันที่ยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม จึงเน้นให้ ผู้เรียนมีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการเจรจาและการต่อรอง ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ การเมือง นวัตกรรมและการค้าระหว่างประเทศ เพื่อเป็นฐานสำคัญของมิติ
มิติด้านนวัตกรรม (Innovative Dimension)
มิติด้านนวัตกรรม
(Innovative Dimension)
นวัตกรรมเป็นเครื่องมือที่สำคัญของผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ในการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่รูปแบบธุรกิจ
และการบริการที่แตกต่างจากคู่แข่ง ซึ่งก็คือความสามารถในการเรียนรู้ ความสามารถในการปฏิบัติ ความสามารถในการนำเสนอทางเลือกใหม่แก่ผู้บริโภค
และ สังคม และความคิดสร้างสรรค์ มิติด้านนวัตกรรมของบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรมที่จะถูกถ่ายทอดให้ผู้เรียนโดยผ่านทางกระบวนการทางนวัตกรรม ที่มีองค์ประกอบสำคัญ 9 ประการ คือ แรงบันดาลใจ (Inspiration) ใจใฝ่รู้ (Inquiring) รอบรู้ข่าวสาร (Information) เจ้าความคิด (Ingenuity) ริเร่ิม สร้างสรรค์ (Initiative) ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) มีส่วนร่วม (Involvement) กระตุ้นส่งเสริม (Instigate) และบูรณาการ (Integration)
นวัตกรรมเป็นเครื่องมือที่สำคัญของผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ในการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่รูปแบบธุรกิจ และการบริการที่แตกต่างจากคู่แข่ง ซึ่งก็คือความสามารถในการเรียนรู้ ความสามารถในการปฏิบัติ ความสามารถในการนำเสนอทางเลือกใหม่แก่ผู้บริโภค และ สังคม และความคิดสร้างสรรค์ มิติด้านนวัตกรรมของบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรมที่จะถูกถ่ายทอดให้ผู้เรียนโดยผ่านทางกระบวนการทางนวัตกรรม ที่มีองค์ประกอบสำคัญ 9 ประการ คือ แรงบันดาลใจ (Inspiration) ใจใฝ่รู้ (Inquiring) รอบรู้ข่าวสาร (Information) เจ้าความคิด (Ingenuity) ริเร่ิม สร้างสรรค์ (Initiative) ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) มีส่วนร่วม (Involvement) กระตุ้นส่งเสริม (Instigate) และบูรณาการ (Integration)
มิติด้านภาวะผู้นำ (Leadership Dimension)
มิติด้านภาวะผู้นำ
(Leadership Dimension)
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี รูปแบบการค้า และการบริการมีอยู่ตลอดเวลา องค์กรที่มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการทำงาน
และการบริหารให้ทันและก้าวลํ้ากว่าคู่แข่งในการแข่งขันย่อมมีความได้เปรียบองค์กรอื่นๆ ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ (Visionary Leader) ที่สามารถสร้างนวัตกรรมองค์กร (Organizational innovation) และนำไปปฏิบัติได้จริง คือ นักปฏิวัติทางองค์กร (Organizational revolutionist) ที่กล้าตัดสินใจอย่างมีหลักการ และมีองค์ประกอบทั้ง 9 ประการของกระบวนการทางนวัตกรรม ย่อมนำพาองค์กรไปสู่จุดมุ่งหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี รูปแบบการค้า และการบริการมีอยู่ตลอดเวลา องค์กรที่มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการทำงาน และการบริหารให้ทันและก้าวลํ้ากว่าคู่แข่งในการแข่งขันย่อมมีความได้เปรียบองค์กรอื่นๆ ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ (Visionary Leader) ที่สามารถสร้างนวัตกรรมองค์กร (Organizational innovation) และนำไปปฏิบัติได้จริง คือ นักปฏิวัติทางองค์กร (Organizational revolutionist) ที่กล้าตัดสินใจอย่างมีหลักการ และมีองค์ประกอบทั้ง 9 ประการของกระบวนการทางนวัตกรรม ย่อมนำพาองค์กรไปสู่จุดมุ่งหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มิติของการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Dimension)
มิติของการเป็นผู้ประกอบการ
(Entrepreneurial Dimension)
ผู้ประกอบการที่จะประสบความสำเร็จได้ในโลกปัจจุบัน นอกจากจะต้องมีวิสัยทัศน์ที่ก้าวไกล ยังจะต้องมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงกรอบความคิดของนวัตกรรมซึ่งนับว่าเป็นสูตรสำเร็จที่นำมาซึ่งศักยภาพในการแข่งขันที่ได้เปรียบและยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรมจึงได้นำมาเป็นมิติหนึ่ง ของบัณฑิตที่จะสำเร็จการศึกษาเพื่อออกไปเป็น Change Agent และ ผู้ประกอบการทางนวัตกรรม (Innopreneur) ต่อไป
โครงสร้างองค์กร
ผศ.ดร.วรพจน์ อังกสิทธิ์
ผศ.ดร.ปฏิภาณ แซ่หลิ่ม
รศ.ดร.เจริญชัย โขมพัตราภรณ์
ผศ.ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ
ดร.ภัทราภรณ์ สุนทรสัจ
ผศ.ดร.จิรศิลป์ จยาวรรณ
ผศ.ดร.มงคล อัศวดิลกฤทธิ์
ผศ.ดร.วรพจน์ อังกสิทธิ์
ผศ.ดร.จิรศิลป์ จยาวรรณ
รศ.ดร.เจริญชัย โขมพัตราภรณ์
ผศ.ดร.ปฏิภาณ แซ่หลิ่ม
ผศ.ดร.มงคล อัศวดิลกฤทธิ์
ดร.บุญเกียรติ เอี้ยววงษ์เจริญ
ดร.วินัย หอมสมบัติ
ดร.ดั้นดุสิต โปราณานนท์
ดร.อานนท์ ทับเที่ยง
ผศ.ดร.ปารเมศ วรเศยานนท์
ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ กฤษเจริญ
ดร.สุขยืน เทพทอง
รศ.ดร.ชุมพล มณฑาทิพย์กุล
ผศ.ดร.วัชรพจน์ ทรัพย์สงวนบุญ
ผศ.ดร.ทิพวรรณ ปิ่นวนิชย์กุล
ผศ.ดร.พงษ์ชัย อธิคมรัตนกุล
ผศ.ดร.วรัญญา ติโลกะวิชัย
ดร.ศศิธร มหาคุณาจีระกุล
ดร.รังสรรค์ เกียรติ์ภานนท์
ดร.สุจิต พงษ์นุ่มกุล
ดร.กฤษฎา จุติมงคลกุล
ผศ.ดร.ศุภชาต เอี่ยมรัตนกูล
ผศ.ศุภวัชร์ มาลานนท์
ศุภลักษณ์ รักธรรม
ผู้ช่วยคณบดี
ศิริพร เป็นสูงเนิน
ผู้ช่วยคณบดี
ธนัญชนก พุ่มพวง
รักษาการเลขานุการคณะ
อรญา ฉัตรกมลกุล
นักบริหารการเงิน
วิไลลักษณ์ หรรษา
นักบริการการศึกษา
นันทิยา เถื่อนพังเทียม
นักบริการการศึกษา
ณัฏฐณิชา วงศ์วันดี
นักบริการการศึกษา
อลีนา ปานสวัสดิ์
นักบริการการศึกษา ฝ่ายประชาสัมพันธ์
ศุภชัย แสงทอง
นักคอมพิวเตอร์
ศศิญา สุทธสุววณ
นักพัฒนาการศึกษา
ภูวดล ชินจอหอ
นักเทคโนโลยีการศึกษา
ลฎาภา รักษาราษฎร์
นักบริหารงานทั่วไป
ปาริฉัตร คำตั้ว
นักวิเคราะห์แผนและงบประมาณ
ศรายุทธ อับดุลเราะห์มาน
นักบริหารงานทั่วไป
พิมพ์ชนก ปานห่วง
นักบริหารงานทั่วไป
ศราวุธ นพพิบูลย์
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการสำหรับ
การเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
ทรงพล อริยสัจจะมงคล
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการสำหรับการเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
กนกวรรณ หวังวิบูลย์กิจ
เหรัญญิกสาขาวิชาการจัดการสำหรับการเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
อรุณี มัทนะไพศาล
เลขานุการสาขาวิชาการจัดการสำหรับการ
เป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
ปิยะรัตน์ ซื่อพัฒนะพันธ์
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ภาคพิเศษ)
เปรมวิภา ปริฉัตร์ตระกูล
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ภาคพิเศษ)
ฐิติมา ปัญญาธงชัย
เหรัญญิกสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และ
ซัพพลายเชน (ภาคพิเศษ)
นริศา สัณห์ศักดิ์สิทธิ์
เลขานุการสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ภาคพิเศษ)
เจษฎากร ทาไชยวงค์
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
พัชริน โศภิตนุกุล
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ภาวิตา นิยมทอ
เหรัญญิกสาขาวิชาการจัดการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ปริญญากร สระแก้ว
เลขานุการสาขาวิชาการจัดการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรม
บุษราภรณ์ ศรีสว่าง
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการบริหารโครงการ
วรวีร์ แก้วมณี
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชา
การบริหารโครงการ
รุ่งโรจน์ เพียรนิติกร
เหรัญญิกสาขาวิชาการบริหารโครงการ
ภาณุพงศ์ ป้อมเดช
เลขานุการสาขาวิชาการบริหารโครงการ
อาภาศิริ มงคลมหาสมุทร
ประธานนักศึกษา
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล
บรรพต บุญธรรม
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการธุรกิจดิจิทัล
อังคณา ห้างชัยเจริญ
เหรัญญิกสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล
มุกดาพร พลรักษ์เขตต์
เลขานุการสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล
นันทพัฒน์ กิจโอสถ
ประธานนักศึกษาสาชาวิชาการ
จัดการอสังหาริมทรัพย์
ชลพฤกษ จันทร์จรัสแสง
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการอสังหาริมทรัพย์
ธิติมา แซ่คู
เหรัญญิกสาขาวิชาการจัดการอสังหาริมทรัพย์
ฐิติรัตน์ ยัง
เลขานุการการจัดการอสังหาริมทรัพย์
ปริย วีระเลิศฤทธิชัย
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
บริหารจัดการองค์กร
พงษ์พันธ์ พูนพิพัฒน์
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
บริหารจัดการองค์กร
เบญจมาภรณ์ ผลัดนวล
เหรัญิกสาขาวิชาการบริหารจัดการองค์กร
ภคกุล ธินิศิริ
เลขานุการสาขาวิชาการบริหารจัดการองค์กร
สาธนี เจษฎารัตนชัย
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน(ภาคปกติ)
นศรินทร์ พิมบัว
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ภาคปกติ)
ชัญญานุช สุขรักษา
เหรัญิกสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และ
ซัพพลายเชน (ภาคปกติ)
ปภัสวรรณ ศิวะเปล่งรัศมี
เลขานุการ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชน (ภาคปกติ)
ศราวุธ นพพิบูลย์
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการสำหรับ
การเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
ประธานนักศึกษา
สาขาวิชาการจัดการสำหรับ
การเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
ทรงพล อริยสัจจะมงคล
รองประธานนักศึกษา
สาขาวิชาการจัดการสำหรับ
การเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
กนกวรรณ หวังวิบูลย์กิจ
เหรัญญิกสาขาวิชาการจัดการสำหรับการเป็น
ผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
อรุณี มัทนะไพศาล
เลขานุการสาขาวิชาการจัดการสำหรับการ
เป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
เลขานุการสาขาวิชาการจัดการสำหรับการเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม
ปิยะรัตน์ ซื่อพัฒนะพันธ์
ประธานนักศึกษาสาขาวิชา
การจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชน
(ภาคพิเศษ)
เปรมวิภา ปริฉัตร์ตระกูล
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ภาคพิเศษ)
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชา
การจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชน
(ภาคพิเศษ)
ฐิติมา ปัญญาธงชัย
เหรัญญิกสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และ
ซัพพลายเชน (ภาคพิเศษ)
เหรัญญิกสาขาวิชา
การจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชน
(ภาคพิเศษ)
นริศา สัณห์ศักดิ์สิทธิ์
เลขานุการสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และ
ซัพพลายเชน (ภาคพิเศษ)
เลขานุการสาขาวิชา
การจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชน
(ภาคพิเศษ)
เจษฎากร ทาไชยวงค์
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
พัชริน โศภิตนุกุล
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ภาวิตา นิยมทอ
เหรัญญิกสาขาวิชาการจัดการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ปริญญากร สระแก้ว
เลขานุการสาขาวิชาการจัดการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรม
บุษราภรณ์ ศรีสว่าง
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการบริหารโครงการ
วรวีร์ แก้วมณี
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชา
การบริหารโครงการ
รุ่งโรจน์ เพียรนิติกร
เหรัญญิกสาขาวิชาการบริหารโครงการ
ภาณุพงศ์ ป้อมเดช
เลขานุการสาขาวิชาการบริหารโครงการ
อาภาศิริ มงคลมหาสมุทร
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล
บรรพต บุญธรรม
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการธุรกิจดิจิทัล
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล
อังคณา ห้างชัยเจริญ
เหรัญญิกสาขาวิชา
การจัดการธุรกิจดิจิทัล
มุกดาพร พลรักษ์เขตต์
เลขานุการสาขาวิชา
การจัดการธุรกิจดิจิทัล
นันทพัฒน์ กิจโอสถ
ประธานนักศึกษาสาชาวิชาการ
จัดการอสังหาริมทรัพย์
ชลพฤกษ จันทร์จรัสแสง
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการอสังหาริมทรัพย์
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการอสังหาริมทรัพย์
ธิติมา แซ่คู
เหรัญญิกสาขาวิชาการจัดการอสังหาริมทรัพย์
ฐิติรัตน์ ยัง
เลขานุการการจัดการอสังหาริมทรัพย์
ปริย วีระเลิศฤทธิชัย
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
บริหารจัดการองค์กร
พงษ์พันธ์ พูนพิพัฒน์
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการ
บริหารจัดการองค์กร
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการบริหารจัดการองค์กร
เบญจมาภรณ์ ผลัดนวล
เหรัญิกสาขาวิชา
การบริหารจัดการองค์กร
ภคกุล ธินิศิริ
เลขานุการสาขาวิชา
การบริหารจัดการองค์กร
สาธนี เจษฎารัตนชัย
ประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชน(ภาคปกติ)
ประธานนักศึกษาสาขาวิชา
การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน(ภาคปกติ)
นศรินทร์ พิมบัว
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ภาคปกติ)
รองประธานนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ภาคปกติ)
ชัญญานุช สุขรักษา
เหรัญิกสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และ
ซัพพลายเชน (ภาคปกติ)
เหรัญิกสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
(ภาคปกติ)
ปภัสวรรณ ศิวะเปล่งรัศมี
เลขานุการ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชน (ภาคปกติ)
เลขานุการ สาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
(ภาคปกติ)
International Accreditation
องค์กรที่ได้รับการรับรองจาก UKAS จะได้รับการประเมินเทียบกับมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสามารถความเป็นกลางและการมีประสิทธิภาพ ในฐานะสมาชิก IAF (International Accreditation Forum)
AACSB การรับรองมาตรฐาน ระดับนานาชาติ
บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มจธ. (GMI) ได้รับการรับรองมาตรฐานการเรียนการสอนด้านบริหารธุรกิจ จากสถาบันการรับรองมาตรฐานการศึกษาทางด้านบริหารธุรกิจและการบัญชีในระดับสากล AACSB (Association to Advance Collegiate Schools of Business) ทำให้เป็น 1 ใน 8 ของประเทศไทย และ 1 ใน 937 จาก 60 ประเทศทั่วโลกที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจาก AACSB
การประกาศรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจระดับสากล ของสถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาทางด้านบริหารธุรกิจและการบัญชีในระดับสากล หรือ AACSB (Association to Advance Collegiate Schools of Business) ซึ่งเป็น 1 ใน 3 สถาบันรับรองมาตรฐานสถาบันการศึกษาด้านการบริหารระดับธุรกิจระดับโลกให้กับบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม หรือ GMI (Graduate School of Management and Innovation)
GMI Activity and Service
Master cleanse snackwave vinyl tumblr direct trade palo santo YOLO beard kale chips freegan. Drinking vinegar trust fund fingerstache retro cred deep v. Bushwick truffaut etsy tousled sus gochujang selvage. Gentrify cray ethical pork belly. Organic raw denim same bicycle rights.
CSR
(Corporate Social Responsibility หรือ CSR)
การมีนโยบายพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม สร้างประโยชน์ให้กับสังคมโดยที่ไม่ได้หวังผลตอบแทน ควบคู่ไปพร้อมกับการดำเนินธุรกิจภายใต้แนวคิด
“องค์กรควรมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ พัฒนา และ มุ่งไปที่
การสร้างให้องค์กรมีความ “ดี” ที่ก่อให้เกิดความยั่งยืน
ของกิจการและคืนกำไรให้แก่สังคม”
(Corporate Social Responsibility หรือ CSR) การมีนโยบายพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม สร้างประโยชน์ให้กับสังคมโดยที่ไม่ได้หวังผลตอบแทน ควบคู่ไปพร้อมกับการดำเนินธุรกิจภายใต้แนวคิด “องค์กรควรมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ พัฒนา และ มุ่งไปที่ การสร้างให้องค์กรมีความ “ดี” ที่ก่อให้เกิดความยั่งยืน ของกิจการและคืนกำไรให้แก่สังคม”
Camp
“GMI เป็นเหมือนครอบครัวที่ต้องมาเจอกันทุกวัน สร้างฝันร่วมกันเอง เหมือนอยู่ในบ้านอบอุ่น เจ้าหน้าที่ อาจารย์
เพื่อนในสาขา เพื่อนต่างสาขา และรุ่นพี่รุ่นน้อง ความรู้ที่ได้จาก
อาจารย์และมิตรภาพสังคมที่ GMI
“GMI เป็นเหมือนครอบครัวที่ต้องมาเจอกันทุกวัน สร้างฝันร่วมกันเอง เหมือนอยู่ในบ้านอบอุ่น เจ้าหน้าที่ อาจารย์ เพื่อนในสาขา เพื่อนต่างสาขา และรุ่นพี่รุ่นน้อง ความรู้ที่ได้จาก อาจารย์และมิตรภาพสังคมที่ GMI